กายของเรามีข้อดีที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ สุขโสมนัสใดอาศัยกายนี้แล้ว ความสุขนั้นเรียกว่า “รสอร่อย” อย่างเราไปเที่ยวต่างประเทศ ต่างจังหวัด ดูนกดูไม้ เราเห็นได้ ได้กินอาหารอร่อยๆ ได้สัมผัสอากาศ ทั้งหมดนี้ก็เพราะ “กาย” เป็นความสุขที่ได้จากกายนี้ แต่เมื่อเทียบกับทุกข์ที่ได้จากกายนี้ กลับต่างกันราวฟ้ากับเหว โทษของกายมีมากมหาศาล กายนี้มีอาพาธต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปเป็นอย่างอื่น ตั้งแต่ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง 

กายนี้ไม่ใช่ของเรา เป็นเพียงที่ประชุมลงของธาตุทั้ง 4 อาศัยมารดาบิดาและข้าวสุกขนมสดเพียงเท่านั้น 

เราพึงพิจารณากายแยกเนื้อ หนัง เอ็น กระดูก ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ อากาศธาตุ ออกจากกันจะสามารถตัด – ละ ความยึดถือในกายนี้ได้


p>อ่าน “มหาทุกขักขันธสูตร” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์

อ่าน “มหาทุกขักขันธสูตร คุณ โทษ และการสลัดออกไปจากรูป” พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์

อ่าน “มหาสติปัฏฐานสูตร (๒๒)” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค

อ่าน “กายานุปัสสนา หมวดมนสิการสิ่งปฏิกูล” พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย มหาวรรค

อ่าน “กายานุปัสสนา หมวดมนสิการธาตุ” พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย มหาวรรค

อ่าน “กายานุปัสสนา หมวดป่าช้า ๙ หมวด” พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ทีฆนิกาย มหาวรรค

อ่าน “อาพาธสูตร” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖ อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต

อ่าน “มหาราหุโลวาทสูตร” พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์

ฟัง “พิจารณากายเพื่อให้เห็นตามความเป็นจริง” ออกอากาศทาง FM92.5 เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2561


Timeline
[00:19] รสอร่อยของรูป
[03:15] พึงพิจารณากายนี้ตั้งแต่พื้นเท้าไปสู่เบื้องบน
[15:32] พึงพิจารณาให้เห็นกายนี้มีทุกข์ มีอาพาธในโรคต่างๆ มาก 
[22:14] ขยายความเนื้อหาในพุทธพจน์ทั้งหมด เรื่องกายในกาย